การประชาสัมพันธ์
การประชาสัมพันธ์ ความหมาย Public Relations วิธีการต่างๆ ขององค์การ สถาบัน (Institution or Organization) ที่มีการวางแผน ปฏิบัติตามแผนที่ได้วางไว้ ต่อเนื่อง สม่ำเสมอ เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ และสร้างความสัมพันธ์อันดี (good relationship)ระหว่างองค์การ สถาบัน กับ กลุ่มประชาชนเป้าหมาย(the public)ทั้งภายใน ภายนอก หน่วยงาน ตามวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งเอาไว้ และมีการประเมินผล (Evaluation)
ความสำคัญของ PR.สร้างภาพพจน์ / ภาพลักษณ์แก้ไขความเข้าใจผิดรักษาความสัมพันธ์กับกลุ่มจัดส่งสินค้ากระตุ้นความสนใจแก่ผู้ถือหุ้น/ กลุ่มผู้ให้ความสนับสนุนทางด้านการเงินแก่บริษัทสร้างความนิยมแก่ชุมชนใกล้เคียงเสนอรายงานแก่หน่วยราชการสร้างความนิยมแก่ตัวแทนจำหน่ายสร้างความนิยมในกลุ่ม พนง. ลูกจ้างชี้แจง/ ให้บริการแก่ผู้บริโภคปรับปรุงด้านแรงงานสัมพันธ์ให้บริการสาธารณะเพิ่มพูนมิตรไมตรีต่อบริษัท/ หน่วยงาน
ปัจจัยที่ทำให้ PR. มีความสำคัญช่องว่างการสื่อสารประชากรเพิ่มขึ้นการมีความรับผิดชอบต่อสังคมรัฐบาลมีภารกิจเพิ่มมากขึ้นพัฒนาการของเครื่องมือสื่อสาร เทคโนโลยีมาตรฐานใหม่ทางด้านจริยธรรมอิทธิพลของผู้บริโภค/ บทบาทการคุ้มครองวิทยาการด้านการPR.ก้าวหน้าสมาคมวิชาชีพทางด้าน PR.การยอมรับของหน่วยงาน
กระบวนการPR.
1. มี 4 ขั้นตอนการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อ PR.
การจัดเก็บข้อมูล
การสำรวจข้อมูลอย่างไม่เป็นทาง
การการสำรวจข้อมูลอย่างเป็นทางการ
2. การวางแผนการPR. มีขั้นตอนดังนี้
กำหนดเป้าหมายกำหนดกลุ่มเป้าหมาย
กำหนดจุดเด่นที่จะ PR.
กำหนดสื่อ/เทคนิคที่จะใช้
กำหนดงบประมาณ/ กำลังคนริเริ่มการกระทำ/ กิจกรรมตาม
กำหนดเวลาทดลองนำแผนไปใช้/ ตรวจแผนจัดทำแผนปฏิบัติการ
3. การสื่อสารประชาสัมพันธ์
3.1 องค์ประกอบของการสื่อสาร
3.2 ประเภท/ หลักของการสื่อสาร
3.3 การสื่อสารประชาสัมพันธ์
-Two - way Communication
-Formal/ Informal
-To inform/ educate/ entertain/persuade
-เป็นการสื่อสารที่ควบคุมสื่อเอง/สื่อมวลชน
-มีการจัดกลุ่มเป้าหมาย
4. การประเมินผลงาน PR. มี 7 ขั้นตอน
4.1 การเลือกใช้เหตุผล
4.2 ระบุวัตถุประสงค์
4.3 หามาตรการในการวัดผลประชาสัมพันธ์
4.4 ดำเนินการวัดและรวบรวมข้อมูล
4.5 วิเคราะห์ข้อมูล
4.6 รายงานผล
4.7 นำผลมาเพื่อใช้ในการตัดสินใจเพื่อ PR.
วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น